เคารพ กฎ จราจร / จราจร สภ.คลองหลวง ช่วงสงกรานต์ ฝากผู้ขับขี่เคารพกฎจราจร - แฉข่าวเด่น

Thursday, 26 May 2022

17 คือ เจ้าหน้าที่ตำรวจเคร่งครัด ทำตามกฎหมาย /ผู้ใช้รถใช้ถนนมีจิตสำนึก มีวินัย รองลงมา ได้แก่ พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะที่ดี ค่าโดยสารไม่แพง เพื่อให้บริการแก่ประชาชน ร้อยละ 36. 68 มีมาตรการควบคุมจำนวนรถยนต์ จำกัดจำนวนรถยนต์ที่ครอบครอง ร้อยละ 34. 07 ปรับผังเมือง กระจายความเจริญไปสู่จังหวัดอื่น ๆ สร้างงาน สร้างรายได้ ร้อยละ 28. 85 และปรับปรุงถนน มีป้ายจราจรที่ชัดเจน ไม่จอดรถ ขายของในที่ต้องห้าม ร้อยละ 21. 41 ที่กล่าวไปทั้งหมดนี้ คือ ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขจราจร ซึ่งต้องยอมรับว่าประชาชนจำนวนไม่น้อยมองว่าการปรับกฏหมายเพียงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขปัญหาจราจรได้ แต่ถ้าจะแก้ไขอย่างยั่งยืน... ก็คงต้องเริ่มจากการที่เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฏหมาย.. ส่วนผู้ใช้รถใช้ถนนมีจิตสำนึกมีวินัย ถ้า ณ วันนี้ เจ้าหน้าที่ยังทำหน้าที่หย่อนยาน... คนใช้รถยังขาดวินัยแล้วละก็... คงไม่ต้องอธิบายให้ยืดยาวว่า "ปัญหาจราจร" จะเป็นอย่างไร? น่าจะรู้คำตอบอยู่แก่ใจ...! !

  1. คอม บูชา ราคา
  2. เกม มา ย ครา ฟ 4.0 gpa
  3. Despite the fact that แปล ว่า made
  4. ปัญหาเดิมๆที่ต้องแก้ไข
  5. *กฎจราจร* แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
  6. บทความทางวิชาการ เรื่อง…ความปลอดภัยในการใช้รถใช้ทางเดินรถ | Group1set3cve305's Blog
  7. ผม น้ำตาล ประกาย ทอง วัน นี้

00 อยากเห็นการจราจรในกรุงเทพฯ ดีขึ้น ทันสมัย เดินทางสะดวก ร้อยละ 29. 33 ปัญหารถติดอยู่ในขั้นวิกฤติ โดยเฉพาะหน้าฝน เดินทางลำบาก ร้อยละ 28. 50 และส่งผลต่อภาพลักษณ์ การท่องเที่ยว เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน ร้อยละ 19. 00 ประชาชนคาดหวังว่ารัฐบาลจะแก้ปัญหาวิกฤตจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้สำเร็จหรือไม่? พบว่า "คำตอบ" ที่ "ประชาชน" ตอบมากที่สุด ร้อยละ 55. 03 คือไม่คาดหวังว่าจะสำเร็จ เพราะ เป็นปัญหาใหญ่ แก้ไขไม่ได้ ขึ้นอยู่ที่ตัวบุคคล คนไทยไม่เคารพกฎหมาย ระบบขนส่งสาธารณะไม่รองรับการเดินทางของประชาชน ถนนหนทางไม่เป็นระบบ รถมีปริมาณมาก ฯลฯ รองลงมา ได้แก่ ไม่แน่ใจ ร้อยละ 22. 97 เพราะ ไม่รู้รายละเอียดว่าจะดำเนินการอย่างไร อาจต้องใช้เวลานาน ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ใช้รถใช้ถนน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และตำรวจจราจร ฯลฯ และคาดหวังว่าจะสำเร็จ ร้อยละ 22. 00 เพราะ เป็นรัฐบาลที่เด็ดขาด สามารถใช้อำนาจตามมาตรา 44 ได้ มีความตั้งใจในการแก้ปัญหา หากทำสำเร็จ จะเป็นผลงานที่โดดเด่นของรัฐบาล ฯลฯ ประชาชนคิดว่าวิธีการแก้ไขปัญหาจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้เป็นรูปธรรมควรทำอย่างไร? พบว่า "คำตอบ" ที่ "ประชาชน" ตอบมากที่สุด ร้อยละ 51.

เราควรแก้ปัญหาอย่างไรถึงจะได้ผล? แต่ที่มั่นใจก็คือปัญหาไม่ได้อยู่ที่กฎหมาย ประเทศไทยเรามีกฎหมาย พ. ร. บ. จราจร 2522 ของไทยนั้นมีข้อห้ามและบริหารจัดการจราจรแทบทุกอย่าง เรียกได้ว่าทัดเทียมกับประเทศศิวิไลซ์อื่น ๆ ได้เลย มีแม้กระทั่งรถต้องหยุดให้คนข้ามถนนตรงทางม้าลาย หากไม่ทำตามจะโดนปรับ 1, 000 บาท แต่ในชีวิตจริงจะมีรถซักกี่คันที่หยุดตรงทางม้าลายให้คนข้าม! หรือถ้าจะพูดให้ถูกต้องก็คือปัญหามันไม่ได้อยู่ที่ตัวกฎหมายแต่เป็นการบังคับใช้กฎหมายต่างหากที่มีปัญหา ภาพจาก "แก้ไขไม่ได้หรอก เพราะปัญหามันอยู่ที่นิสัยของคนไทย" หากใครกำลังคิดว่าปัญหาเหล่านี้มันไม่สามารถใช้กฎหมายบังคับแก้ไขได้หรอก เพราะมันอยู่ในดีเอ็นเอของคนไทยส่วนใหญ่ไปเสียแล้ว ลองไปดูสถานการณ์สมมติต่อไปนี้กันดูครับ หลายคนคงเชื่อว่าปัญหาการไม่เคารพกฎจราจรเป็นที่ตัว "คน" พูดง่าย ๆ คือถ้าหากเอาคนที่ไม่เคารพกฎจราจรเหล่านี้ออกนอกประเทศให้หมด ประเทศไทยจะมีอุบัติเหตุบนท้องถนนลดลงหรือไม่มีเลย แต่มันจะเป็นเช่นนั้นจริงหรือ? สมมติว่ามีคนไทยคนหนึ่งอายุ 50 ปี ชื่อว่าสมหมาย ขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างมาแล้ว 30 ปี ซึ่งตลอดเวลาที่สมหมายเป็นวินมอเตอร์ไซค์ สมหมายขี่ย้อนศรหรือขี่บนฟุตปาธมาโดยตลอด ต่อมาสมหมายสมัครล็อตโต้กรีนการ์ดของสหรัฐฯ แล้วดันได้รับเลือกให้ไปตั้งรกรากใหม่ที่สหรัฐฯ คำถามคือเมื่อสมหมายไปถึงสหรัฐฯและยังคงขี่มอเตอร์ไซค์อยู่ สมหมายจะยังคงขี่ย้อนศรหรือขี่บนฟุตปาธอยู่หรือไม่ เมื่อถามคำถามนี้กับคนรอบตัวแทบจะทุกคนตอบเหมือนกันว่าสมหมายจะไม่ขี่มอเตอร์ไซค์ย้อนศรหรือบนฟุตปาธอีกเมื่ออยู่ในประเทศสหรัฐฯ แล้วทำไมถึงเป็นเช่นนั้นล่ะ?

ปัญหาเดิมๆที่ต้องแก้ไข

เคารพกฎจราจร

เมื่อมีอุบัติเหตุจราจรเกิดขึ้น 10. 1 ผู้ขับขี่ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่คนหรือทรัพย์สินของผู้อื่น ต้องหยุดรถ และให้ความช่วยเหลือตามสมควร 10. 2 ต้องแสดงตัวและแจ้งเหตุต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ใกล้เคียงทันที 10. 3 ต้องแจ้งชื่อ ที่อยู่ของตน และเลขทะเบียนรถ พร้อมแจ้งเหตุต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ใกล้เคียงทันที 10. 4 ต้องแจ้งชื่อตัว ชื่อสกุล ที่อยู่ของตน และหมายเลขทะเบียนรถแก้ผู้ได้รับความเสียหายด้วย 10. 5 หากผู้ขับขี่หลบหนี ไม่แสดงตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่เกิดเหตุ ให้สันนิษฐานว่าเป็นผู้กระทำผิด และให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจยึดรถคันที่หลบหนี จนกว่าคดีจะถึงที่สุด หรือได้ตัวผูกระทำผิด 10. 6 หากเจ้าของรถหรือผู้ที่ครอบครองรถไม่แสดงตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน6 เดือน นับแต่วันเกิดเหตุ ให้รถนั้นตกเป็นของรัฐ สรุป จึงได้เสนอบทความทางวิชาการ เรื่องความปลอดภัยในการใช้รถใช้ทางเดินรถ ซึ่งเป็นแนวทางเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบ กฎหมายจราจรอีกทั้งยังเป็นการช่วยแก้ไขปัญหาการจราจร ปลูกฝังวินัยการจราจร ช่วยลดอุบัติเหตุ ลดการสูญเสียทรัพย์สิน ชีวิต ร่างกาย อันจะเป็นแนวทางให้ผู้ใช้รถใช้ทางเดินรถ เพื่อให้ประชาชนและคนใช้รถใช้ถนน ได้ถือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้รถใช้ทางเดินรถ อ้างอิง -กองบัญชาการศึกษา, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.